นายสุชาติ ชมกลิ่ น รั ฐมนตรีว่าการกระทรวงแ รงงาน กล่าวภายหลังการประชุมครม. ว่า
ที่ประชุมได้อนุมัติหลักการร่างพระร า ชบัญญัติประกันสังค ม
โดยจะปรับปรุงแก้ไขสิ ทธิประโยช น์กองทุนประกันสังค ม กรณีชร าภาพ
ให้ผู้ประกันตนสามารถนำเ งินกรณีชราภาพบ างส่วนออกมาใช้ก่อน ในรูปแบบ 3 ขอเลือก ขอคืน และขอกู้ ได้แก่
1. กรณีให้ผู้ประกันตนที่มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ สามารถเลือกรับเ งินบำนาญ ช รา ภาพ
หรือเงินบำเหน็จช รา ภาพ (ขอเลือก)
2. กรณีให้ผู้ประกันต นสามารถนำเ งินกรณี ช รา ภาพ บ างส่วนมาใช้ก่อนมีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ (ขอคืน)
3. กรณีให้ผู้ประกันตนสามารถนำเ งินกรณี ช รา ภาพ
บ างส่วนไปเป็นหลักค้ำประกันการกู้เ งินกับธนาค ารหรือสถาบันการเงิ นได้ (ขอกู้)
นอกจากนี้ ยังเพิ่มสิ ทธิประโยช น์กรณีอื่น อาทิ ให้ประโยช น์ทดแทนในกรณีทุพพลภาพ
เพิ่มเงิ นทดแทนการขาดร ายได้กรณี ทุ พ พล ภาพจากร้อยละ 50 ของค่ าจ้าง
เป็นร้อยละ 70 ของค่ าจ้าง ให้ประโยช น์ทดแทนในกรณี คล อด บุตร
เพิ่มระยะเวล าในการจ่ายเงิน สงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการ คล อด บุตร
โดยเหมาจ่ายในอัตร าครั้งละร้อยละ 50 ของค่ าจ้ างจากเดิมเป็นระยะเวล า 90 วัน
เป็นระยะเวล า 98 วันหรือระยะเวล าตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
รวมทั้งให้ประโยช น์ทดแทนในกรณีสงเคร าะห์บุตรโดยให้ผู้ประกันต นที่สิ้ นสภาพการเป็นลู กจ้าง
และภายหลังการสิ้ นสภาพเป็นผู้ประกันตน ได้รับประโยช น์ทดแทนในกรณีสงเคร าะห์บุตรต่อไปอีก 6 เดือน
ทั้งนี้การแก้ไขเพิ่มเติมร่ างพ.ร.บ.ประกันสังค ม 2533
เพื่อเพิ่มสิท ธิประโยช น์ให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน
รวมทั้งเป็นการรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย
เพื่อให้ผู้ประกันตนที่สูงอายุได้รับความคุ้มครอง และได้รับสิ ทธิประโยช น์ในระบบประกันสังค ม
สร้ างหลักประกันทางสังค มที่เพิ่มมากขึ้นกับผู้สูงอายุที่อยู่ในระบบประกันสังค มด้วย
นายสุชาติ กล่ าวอีกว่า การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายดังกล่ าว เป็นการแก้ไขในรอบ 30 ปี
เพื่อสร้ างความยืดหยุ่นให้กับประชาช นที่อยู่ในระบบประกันสังค มได้มีความหล ากหล าย
ในการใช้เ งินในหลักประกันของตนเอง โดยหลังจากนี้ต้องส่งร่ างพ.ร.บ.ฉบับนี้ให้กฤษฎีกาตรวจสอบความถูกต้อง
จากนั้นจะนำเสนอเข้าสู่ขั้นตอนการพิจารณาในสภาผู้แทนร าษฎร ก่อนจะมีการประกาศใช้ต่อไป