เมื่อพระสงฆ์สวดบท “ยถา…” เป็นความคุ้นเคยของพระพุทธศาสนิกช นผู้ร่วมพิธีประกอบการบุญ
การกุศลในทางพระพุทธศาสนา เร าจะสามารถรับรู้ได้ทันทีว่าขั้นตอนนี้เร าควร “กรวดน้ำ”
ตามความเชื่ อโบร าณที่เกิดมาเร าก็เห็นพิธีทางศาสนากันมาตั้งแต่ยังเด็ก ผู้ใหญ่หล ายท่านมักพูดว่า “ทำบุญ
แล้วต้องกรวดน้ำด้วย ไม่อย่ างนั้นเร าจะไม่ได้บุญ” หรือหากเป็นการทำบุญให้ผู้ที่ล่ วงลับไปแล้ว
ก็จะไม่ได้รับส่วนบุญที่เร าทำให้ หากไม่มีการกรวดน้ำ
แล้วทำไมต้อง “กรวดน้ำ” ?
การที่เร าตั้งใจอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้กับญาติ คนรู้จักที่ล่ วงลับไปแล้ว หรือเทวดาประจำกาย
ตลอดจนเหล่ าเจ้ากร รมนายเว ร และวิญญ าณที่ไม่มีญาติ เร าสามารถกรวดน้ำได้ในทันทีที่เร าทำบุญเสร็จ
หรือเร าจะกลับไปกรวดน้ำที่บ้ านก็ได้ แต่อย่ างหลังนี้หล า ยคนอาจจะกลับบ้ านไปแล้วลืมไปเลย
ทำให้คนที่เร าตั้งใจทำบุญให้เขาไม่ได้รับส่วนบุญที่เร าทำ
ส่วนในระหว่างที่เร ากรวดน้ำนั้น ให้เร าระลึกถึงคนที่เร าอย ากทำบุญให้ หรือคนที่มีเว รกร รมต่อกัน
ขออโหสิกร รมต่าง ๆ เพื่ออุทิศผลบุญที่ได้ทำให้แก่บุคคลเหล่ านั้น ซึ่งกรวดน้ำได้ทั้ง เปียกและแห้ง
หม ายถึงว่า กรวดน้ำแบบเปียก โดยใช้น้ำเป็นสื่อ ค่อย ๆ เทน้ำลงที่รองรับไปพร้อมกับอุทิศผลบุญกุศลไปด้วย
และวิธี กรวดน้ำแบบแห้ง คือ ไม่ใช้น้ำ แค่ใช้การประนมมือ อธิษฐานนึกถึงคนที่เร าอย า กให้ผลบุญนี้ก็เพียงพอ
“กรวดน้ำ” เพื่ออุทิศบุญกุศลให้เจ้ากร รมนายเว รหรือญาติที่ล่ วงลับไปแล้ว
คงไม่ผิดแปลกอะไรเพร าะเป็นเรื่องที่ทุกคนรู้และทำเป็นประจำอยู่แล้ว แต่ยังมีความเ ชื่อเรื่องการ “กรวดน้ำ”
ที่หล ายคนก็ยังไม่รู้ และเกิ ดความสงสัยว่าแบบนี้ก็สามารถทำได้ด้วยหรอ